Tuesday, October 21, 2008

โครงการหุ่นละคร (Puppets)





โครงการหุ่นละคร (Puppets)
หลักการและเหตุผล
เด็กปฐมวัยมีธรรมชาติและลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากบุคคลวัยอื่นๆ และเป็นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ชอบสำรวจสิ่งที่แปลกใหม่ ชอบเลียนแบบผู้อื่นหรือตัวละครในนิทานที่ตนชื่นชอบ และชอบเล่นของเล่น การลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และกระบวนการเรียนรู้ที่เปี่ยมไปด้วยจินตนาการ ความสุข สนุกสนาน ตื่นเต้น ประทับใจ การเล่นที่แฝงความคิดสร้างสรรค์อีกกิจกรรมที่น่าสนใจก็คือ การเล่นเชิดหุ่นละคร ซึ่งหุ่นเป็นมรดกทางศิลปะเก่าแก่ที่สืบทอดมาในลักษณะต่างๆ ตั้งแต่ครั้งโบราณกาล ลักษณะของการใช้หุ่น อาจเป็นรูปแบบของละคร นิทาน นิยาย โดยมนุษย์เป็นผู้ควบคุมให้เคลื่อนไหว หุ่นยังสามารถจำลอง หรือเลียนแบบคล้ายของจริง ถึงจะไม่มีชีวิตแต่สามารถสื่อให้ผู้ดูเข้าถึงอารมณ์ โดยลีลาท่าทางของหุ่นที่แสดงออก (พวงเพชร มงคลเวทย์. 2536 : 10) จึงถือได้ว่า หุ่นเป็นเสมือนตัวแทนของมนุษย์ในการแสดงออกทางการเคลื่อนไหว ลีลา อารมณ์ และสื่อสารความคิดให้บุคคลอื่นรับรู้ ก่อให้เกิดทั้งความสุข สนุกสนาน เกิดความรู้สึกนึกคิดต่างๆ หุ่นจะทำให้เด็กกล้าแสดงออกและรู้จักการทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี (มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 2546 : 189 - 190) ดังนั้น หุ่นจึงนับว่าเป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกของเด็ก ช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการและกล้าแสดงออก (ศิริกาญจน์ โกสุมภ์. 2522 : 10 ) การแบ่งประเภทของหุ่นละคร สามารถแบ่งได้หลายรูปแบบโดยอาศัยเกณฑ์ต่างๆ ในที่นี้จะกล่าวถึงประเภทของหุ่นละครโดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ทางการศึกษาซึ่ง จิตราภรณ์ เตมียกุล ( 2531 : 34 ) ได้แบ่งประเภทของหุ่นเพื่อการศึกษาและพัฒนาเด็กออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. หุ่นเงา หรือหุ่นหนังตะลุง ( Shadow Puppet) เป็นหุ่นที่ทำมาจากแผ่นหนังหรือกระดาษแข็ง มีไม้เสียบหรือสายใยต่อเข้าส่วนต่างๆ ของร่างกาย ใช้เคลื่อนไหวประกอบเรื่อง และใช้แสงไฟเพื่อให้เกิดเงา
2. หุ่นมือ (Hand Puppet) เป็นหุ่นเชิดโดยใช้นิ้วมือเพื่อขยับมือ หัว และปากของหุ่นให้เคลื่อนไหวได้ตามต้องการ ซึ่งมีหลายแบบ เช่น หุ่นมือถุงกระดาษ หุ่นมือถุงมือ หุ่นมือถุงเท้า และหุ่นนิ้วมือ
3. หุ่นเชิด (Rod Puppet) เป็นหุ่นเชิดด้วยไม้หรือสายเชือกจากข้างล่างของตัวหุ่นให้เคลื่อนไหวตามต้องการ สามารถทำได้หลายวิธี และประดิษฐ์ตัวหุ่นขนาดต่างๆ ได้
4. หุ่นชัก ( Marionette) เป็นหุ่นที่ใช้สายโยงเป็นเส้นด้ายหรือลวดติดกับตัวหุ่น เวลาชักโยกไม้ข้างบนพร้อมกับเชือกตามต้องการ จะทำให้อวัยวะส่วนใดเคลื่อนไหวก็ได้
นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัยได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดตั้งโครงการหุ่นละคร ซึ่งในโครงการนี้จะประกอบไปด้วย หุ่นละครประเภทต่างๆ และโรงหุ่นละครที่สามารถนำไปใช้ร่วมกันได้ ถือได้ว่าเป็นอีกกิจกรรมที่เด็กชื่นชอบและให้ความสนใจ เด็กได้เล่นเชิดหุ่นละครตามจินตนาการ มีความกล้าแสดงออกมากขึ้น และได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกผ่านการเล่นเชิดหุ่นละคร ร่วมถึงการได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ได้ฝึกทักษะทางด้าน การฟัง การพูด และการอ่านสีหน้า ท่าทางของหุ่นละคร อีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่หลากหลายจากการเล่นเชิดหุ่นละคร
2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความกล้าแสดงออกและเชื่อมั่นในตนเอง
3. เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และสุนทรียภาพแก่เด็กปฐมวัยจากการเล่นเชิดหุ่นละคร
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
5. เพื่อให้เด็กได้แสดงออกทางความคิด และถ่ายทอดความรู้สึกของตนผ่านหุ่นละคร
6. เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง การพูด และการอ่านของเด็ก จากการเล่นเชิดหุ่นละคร
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ โรงหุ่นและหุ่นละครประเภทต่างๆ ที่ผู้จัดทำโครงการสร้างขึ้น
เชิงคุณภาพ เด็กมีความกล้าแสดงออก ถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกผ่านหุ่นละคร เกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะทางสังคมที่ดี
ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. นำเสนอโครงการต่อผู้บริหารของโรงเรียน
3. ประชุมร่วมกับครูประจำชั้นและผู้บริหารในการดำเนินโครงการ
4. ดำเนินการสร้างโรงหุ่นและผลิตหุ่นประเภทต่างๆ ตามขั้นตอนดังนี้
4.1 ขั้นตอนการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์
4.2 ขั้นการดำเนินการสร้างโรงหุ่นและหุ่นประเภทต่างๆ
4.3 เก็บภาพถ่าย ขณะดำเนินงาน
5. สรุปและประเมินผลโครงการ
สถานที่ดำเนินการ
ห้องสมุด ห้องประชุมในโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของ
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ตลอดจนห้องเรียนต่างๆ ที่สนใจนำไปใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
เดือนกันยายน พ.ศ. 2551
งบประมาณ
1. ค่าวัสดุในการทำโรงหุ่น
- ไม้ 200 บาท
- ตะปู 30 บาท
- ค่าเย็บผ้าทำฉากและม่าน 150 บาท
2. ค่าวัสดุในการทำหุ่นละคร
- ตาตุ๊กตา 20 บาท
- ด้ายเย็บผ้า 12 บาท
- กระดาษแบบต่างๆ 60 บาท
3. ค่าวัสดุอื่น 100 บาท
(หมายเหตุ ขออนุมัติถัวจ่ายทุกรายการ)
ประเมินผล
แบบประเมินโครงการของผู้บริหาร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เด็กเกิดการเรียนรู้ และได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายจากการเล่นเชิดหุ่นละคร
2. เด็กมีความกล้าแสดงออกและเชื่อมั่นในตนเอง
3. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และสุนทรียภาพแก่เด็กปฐมวัยจากการเล่นเชิดหุ่นละคร
4. ส่งเสริมให้เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
5. เด็กได้แสดงออกทางความคิด และถ่ายทอดความรู้สึกของตนผ่านหุ่นละคร
6. ส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง การพูด และการอ่านของเด็ก จากการเล่นเชิดหุ่นละคร

การวิเคราะห์สรุปและข้อเสนอแนะ
ในการจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษาครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากทางโรงเรียนเป็นอย่างดี จากการจัดตั้งโรงหุ่นและหุ่นละครไว้ในห้องอนุบาล 1/1 และทำการสังเกตเด็กที่เข้าไปเล่นเชิดหุ่นนั้น พบว่า เด็กมีความสุข สนุกสนาน และได้เล่นหรือแสดงออกตามจินตนาการ ตลอดจนได้เล่าเรื่องและเล่นหุ่นตามความคิดของตน มีบางครั้งที่เด็กเข้าไปนั่งเล่นข้างในโรงหุ่นแต่ไม่ได้เล่นเชิดหุ่นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งเป็นเพราะว่า การเล่นหุ่นละครประกอบโรงหุ่นนั้นเป็นประสบการณ์ที่ใหม่สำหรับเด็ก เด็กยังไม่รู้จักวิธีการเล่น ดังนั้นก่อนที่จะเล่นต้องสร้างข้อตกลงและอธิบายวิธีการทำกิจกรรมกับเด็กก่อน ตลอดจนครูจะต้องคอยแนะนำขณะที่เด็กเล่นด้วย เพื่อกระตุ้นความคิดและจินตนาการของเด็ก
ในการจัดทำโครงการนี้จะช่วยเสริมสร้างความกล้าแสดงออก ความมั่นใจในตัวเอง ตลอดจนจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยได้เป็นอย่างดี ในการทำหุ่นละครต่างๆ จะต้องใช้เวลาในการทำ เนื่องจากเป็นงานที่ประณีต และโรงหุ่นที่ใช้ไม่จำเป็นต้องสร้างขึ้นใหม่ สามารถประยุกต์จากสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ได้ เช่น โต๊ะ ช่องประตู เป็นต้น ซึ่งหาง่าย ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และประหยัดเวลาในการจัดทำ

ปัญหาและอุปสรรค
1. ไม่มีเครื่องมือในการทำโรงหุ่น วัสดุ อุปกรณ์หายาก ลำบากในการขนส่ง
2. การทำหุ่นต่างๆ ในระยะเวลาที่จำกัด ทำให้หุ่นบางประเภทไม่สวยงามเท่าที่ควร เนื่องจากไม่มีเวลาในการตกแต่ง
3. ช่องสำหรับแสดงหุ่นของโรงหุ่นมีขนาดเล็ก ทำให้เด็กเข้าไปเล่นได้จำนวนน้อย

ภาพกิจกรรม


ภาพที่ 1 การทำโครงของโรงหุ่น การใช้สิ่วเจาะไม้ให้เป็นรูสำหรับใส่คานไม้ เพื่อประกอบเป็นโครงของโรงหุ่น โดยวัสดุที่ใช้ทำโครงของโรงหุ่นคือ ไม้ไผ่ ซึ่งเป็นไม้ที่หาได้ง่ายในพื้นที่และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำ




ภาพที่ 2 การทำโครงของโรงหุ่น ขั้นตอนการวัดแผ่นกระดานให้พอดีกับโครงของโรงหุ่น เพื่อกั้นทำเป็นฉากด้านหลัง และทำการติดแผ่นไม้เข้ากับโครงของโรงหุ่น





ภาพที่ 3 ทาสีตกแต่งโรงหุ่น การทาสีตกแต่งโรงหุ่น ทั้งส่วนที่เป็นด้านหน้าและส่วนที่เป็นด้านหลัง เพื่อให้เกิดความสวยงามและน่าเข้าไปเล่นมากยิ่งขึ้น




ภาพที่ 4 ครูร่วมกันเล่านิทาน ครูร่วมกันเล่านิทานให้เด็กฟังโดยใช้หุ่นละครและนำโรงหุ่นที่สร้างขึ้นมาใช้ประกอบการเล่า กิจกรรมนี้ช่วยดึงดูดความสนใจของเด็ก ทำให้เด็กเกิดความสุข สนุกสนาน และเด็กตั้งใจฟังนิทานที่ครูเล่า ซึ่งครูสามารถนำกิจกรรมเช่นนี้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนได้







การฝึกปฏิบัติงานในสถานศึกษา 1
หน่วยตัวเรา
สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 9 - 13 มิถุนายน 2551

ภาพกิจกรรม

ภาพที่ 1 การสนทนาสร้างความคุ้นเคย เด็กและครูร่วมสนทนาทักทาย เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างครูกับเด็ก เด็กได้รู้จักครูใหม่ รู้จักชื่อเพื่อนๆ ในชั้นเรียน


ภาพที่ 2 เด็กแนะนำตัวเอง เด็กแนะนำตนเองและทำความรู้จักกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน โดยมีครูและเพื่อนๆ ร่วมแลกเปลี่ยนและทำความรู้จักกัน


ภาพที่ 3 การทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กและครูร่วมกันทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบเพลง "เต่าทอง" เป็นเพลงที่เด็กๆ ชอบและสามารถทำท่าทางตามแบบของครูได้ เด็กได้รับความสุข สนุกสนานขณะทำกิจกรรม และใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่ว

ภาพที่ 4 เด็กและครูร่วมกันสนทนาทักทายร่วมกันยามเช้า เด็กและครูร่วมกันสนทนาทักทายในตอนเช้าก่อนที่จะเริ่มทำกิจกรรมอื่นๆ เพื่อสร้างความคุ้นเคยกับเด็ก และเพื่อให้เด็กคุ้นเคยกับครู และเตรียมพร้อมเด็กสำหรับที่จะทำกิจกรรมต่อไป


ภาพที่ 5 ครูเล่านิทาน ครูกำลังเล่านิทานให้เด็กฟัง เป็นการเล่าแบบที่ครูเป็นผู้เล่า การเล่านิทานเป็นการสร้างสมาธิให้เด็ก เตรียมความพร้อมสำหรับให้เด็กทำกิจกรรมต่อไป เด็กได้เชื่อมโยงเนื้อเรื่องในนิทานกับตัวเอง



ภาพที่ 6 การทำกิจกรรมกลางแจ้ง เด็กออกมาทำกิจกรรมกลางแจ้งนอกห้องเรียน โดยการเล่นส่งลูกบอลให้เพื่อนที่อยู่ตรงข้าม จากกิจกรรมช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย และเด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการทำกิจกรรมได้อย่างคล่องแคล่ว ส่งเสริมทักษะสังคมและช่วยให้เด็กมีความร่าเริง แจ่มใส


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยตัวเรา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาซักถามและสร้างความคุ้นเคย
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้ก้าวเท้าเดินไปข้างหน้า 1 ก้าว”
“ตีกลอง 2 ครั้งให้หยุดเคลื่อนไหวและยืนอยู่กับที่ทันที”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
4. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยหารเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงอย่างอิสระ
5. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกชื่อเล่นของตนให้เพื่อนและครูฟังได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
การสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมยามเช้าและการแนะนำตนเองให้เพื่อนและครูรู้จัก การฟังนิทานและสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องในนิทาน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กแนะนำชื่อเล่นของตนให้เพื่อนและครูรู้จัก
“วันนี้เป็นวันเปิดเทอมวันแรก ครูยังไม่รู้จักชื่อเด็กเลย เด็กช่วยแนะนำชื่อของตนให้ครูรู้จักได้ไหมคะ”
2. เด็กแนะนำชื่อจนครบทุกคน
3. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตอนเช้า
“เมื่อเช้าเด็กๆ มาโรงเรียนอย่างไร”
“ระหว่างทางเด็กๆ เห็นอะไรบ้าง”
4. ครูเล่านิทานเรื่อง “หนูนิดมาโรงเรียน” ให้เด็กฟังและสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องในนิทาน
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกชื่อเล่นของตนให้เพื่อนและครูฟัง
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. วาดภาพสีน้ำ
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การวาดภาพสีน้ำ การวาดภาพสีเทียน และการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม ได้แก่ กระดานไม้ลื่น ชิงช้า
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กและครูร่วมกันทบทวนข้อตกลงก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียน
1. เครื่องเล่นสนาม
- กระดานไม้ลื่น
- ชิงช้า
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนามของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการณ์เล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพของที่เหมือนกันได้
4. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพกับเงาได้
5. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
6. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนและเกมจับคู่ภาพกับเงา
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือน เกมจับคู่ภาพกับเงา และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพกับเงาของเด็ก
5. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
6. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
7. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยตัวเรา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้ก้าวเท้าเดินไปข้างหน้า 1 ก้าว”
“ตีกลอง 2 ครั้งให้หยุดเคลื่อนไหวและยืนอยู่กับที่ทันที”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยหารเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงอย่างอิสระ
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการณ์แสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กเลือกสัญลักษณ์ตามความต้องการได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
เนื้อหา
การให้เด็กเลือกสัญลักษณ์ประจำตัวของเด็กตามความสนใจ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมยามเช้าที่ทำผ่านมา
“ก่อนเข้าห้องเรียนเด็กๆ ต้องทำอะไรก่อนบ้าง”
2. ครูให้เด็กเลือกภาพสัญลักษณ์ประจำตัวตามความสนใจของเด็กเอง โดยการถามเด็กทีละคนและให้เด็กบอกชื่อของสัญลักษณ์ที่ต้องการ
“ให้เด็กๆ คิดสัญลักษณ์ของตนเองไว้ แล้วบอกครูทีละคน”
“สิ่งที่เด็กๆ เลือกจะเป็นสัญลักษณ์ประจำตัวของเด็กแต่ละคน เด็กๆ จะต้องจำสัญลักษณ์ของตนให้ได้”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัญลักษณ์ประจำตัวของเด็กแต่ละคน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
กระดาษวางแผน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกชื่อเล่นของตนให้เพื่อนและครูฟังของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลังของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. วาดภาพสีน้ำ
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การวาดภาพสีน้ำ การวาดภาพสีเทียน และการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นมอญซ่อนผ้าได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นมอญซ่อนผ้า
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่มมอญซ่อนผ้า
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
1. ผ้า
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการณ์เล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพของที่เหมือนกันได้
4. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพกับเงาได้
5. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
6. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนและเกมจับคู่ภาพกับเงา
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือน เกมจับคู่ภาพกับเงา และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพกับเงาของเด็ก
5. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
6. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
7. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยตัวเรา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้กระโดดไปข้างหน้า 1 ครั้ง”
“ตีกลอง 2 ครั้งให้หยุดเคลื่อนไหวและยืนอยู่กับที่ทันที”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้เปลี่ยนเด็กออกมาเป็นผู้นำ
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสังเกตตนเองและบอกเพศของตนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
มนุษย์มี 2 เพศ คือ เพศหญิงและเพศชาย ผู้ชายมีลักษณะคือ ผมสั้น นุ่งกางเกง ผู้หญิงมีลักษณะคือ ผมยาว นุ่งกระโปรง
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ครูให้เด็กทายภาพปริศนา
“เด็กเลือกเปิดภาพ 3 ชิ้น จากภาพที่เด็กๆ เห็น เด็กๆ คิดว่าจะเป็นภาพอะไร”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพศของมนุษย์ พร้อมทั้งให้สังเกตลักษณะของตน
“เด็กๆ รู้หรือไม่ว่าตนเองมีเพศอะไร”
“ผู้หญิงมีลักษณะอย่างไร”
“ผู้ชายมีลักษณะอย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับลักษณะของเพศหญิงและเพศชาย
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ภาพปริศนา
2. ตัวเด็ก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกลักษณะเพศของตนเองของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. วาดภาพสีน้ำ
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ วาดภาพสีน้ำ การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเกมวิ่งแข่ง
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่มวิ่งแข่ง
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการณ์เล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่สัมพันธ์กันได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพที่สัมพันธ์กัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ที่สัมพันธ์กัน
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม เกมจับคู่ภาพที่สัมพันธ์กัน และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพสัมพันธ์
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่สัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยตัวเรา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้กระโดดไปข้างหน้า 1 ครั้ง”
“ตีกลอง 2 ครั้งให้หยุดเคลื่อนไหวและยืนอยู่กับที่ทันที”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้เปลี่ยนเด็กออกมาเป็นผู้นำ
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
เนื้อหา
การบอกวิธีการช่วยเหลือตนเองในการขับถ่าย การแต่งกาย การรับประทานอาหารและการล้างมือของตนเอง กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “สุขกาย สุขใจ” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน และการช่วยเหลือตนเองของเด็ก พร้อมทั้งดูภาพประกอบ
“ก่อนที่จะมาโรงเรียนเด็กๆ ต้องทำอะไรบ้าง”
“เมื่อขับถ่ายเสร็จแล้วเด็กๆ ต้องทำอย่างไร”
“หลังจากเข้าห้องน้ำหรือรับประทานอาหาร ควรทำอะไรบ้าง”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของเด็ฏ
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิเพลง
2. ภาพประกอบการเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลังของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. วาดภาพสีน้ำ
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ วาดภาพสีน้ำ การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการณ์ช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นมอญซ่อนผ้าได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นมอญซ่อนผ้า
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่มมอญซ่อนผ้า
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
1. ผ้า
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการณ์เล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและเรียงลำดับขนาดภาพได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมเรียงลำดับขนาดภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนและเกมจับคู่ภาพกับเงา
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม เกมเรียงลำดับขนาด และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมเรียงลำดับขนาดภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและเรียงลำดับขนาดภาพของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยตัวเรา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้คลานไปข้างหน้า 1 ครั้ง”
“ตีกลอง 2 ครั้งให้หยุดเคลื่อนไหวและยืนอยู่กับที่ทันที”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้เปลี่ยนเด็กออกมาเป็นผู้นำ
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กเสนอความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
การร่วมกันสร้างข้อตกลงในชั้นเรียน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมยามเช้าที่ทำผ่านมา
“ก่อนเข้าห้องเรียนเด็กๆ ทำอะไรมาบ้าง”
2. เด็กและครูเสนอข้อตกลงของห้องเรียน
“อยู่ในห้องเรียนเด็กๆ ควรปฏิบัติตนอย่างไร”
“ขณะที่ครูสอนเด็กๆ ควรทำอย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้อตกลงในห้องเรียน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. กระดาษวางแผน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการเสนอความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. กลิ้งสี
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ กลิ้งสี การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการณ์ช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเกมส่งบอลลอดหว่างขา
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม เกมภาพตัดต่อ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

Monday, October 20, 2008

การฝึกปฏิบัติงานในสถานศึกษา 1
หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์
ในพระอุปถัมภ์ของ
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ 1
สัปดาห์ที่ 9
วันที่ 27 กรกฏาคม - 1 สิงหาคม 2551

ภาพกิจกรรม

ภาพที่ 1 การสำรวจเครื่องเล่นในโรงเรียน ครูและเด็กไปสำรวจเครื่องเล่นต่างๆ ในโรงเรียน ทำให้เด็กได้รู้จักชื่อเครื่องเล่นแต่ละชนิด และรู้จักวิธีการเล่นเครื่องที่ถูกต้อง

ภาพที่ 2 การสำรวจบริเวณรอบๆ โรงเรียน เด็กๆ ได้เดินสำรวจบริเวณส่วนต่างๆ ในโรงเรียน ส่งเสริมให้เด็กได้รู้จักอาคารต่างๆ ในโรงเรียน รู้จักบริเวณส่วนต่างๆ ของโรงเรียน และรู้จักความสำคัญของสิ่งต่างๆ ในบริเวณโรงเรียน

ภาพที่ 3 การทำกิจกรรมศิลปะ ปั้นแป้งโด เด็กๆ ทำกิจกรรมการปั้นแป้งโดร่วมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน กิจกรรมปั้นแป้งโดช่วยส่งเสริมกล้ามเนื้อมือของเด็ก ช่วยห้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์




ภาพที่ 4 การเล่าผลงาน เด็กออกมาเล่าผลงานศิลปะที่ทำให้เพื่อนและครูฟัง เด็กสามารถเล่าผลงานของตนเป็นเรื่องราวได้ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และฝึกความกล้าแสดงออกให้กับเด็ก




ภาพที่ 5 การทำกิจกรรมเสรีในมุมวิทยาศาสตร์ เด็กๆ ทำกิจกรรมในมุมวิทยาศาสตร์ร่วมกับเพื่อน เด็กได้เล่นและทดลองอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมวิทยาศษสตร์ ฝึกทักษะการคำนวณ การสังเกต และเด็กสามารถทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้




ภาพที่ 6 การเล่นมอญซ่อนผ้า เด็กๆ ทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยการเล่นมอญซ่อนผ้า ใช้พื้นที่บริเวณหน้าห้องเรียน ช่วยให้เด็กมีความสนุกสนาน ร่าเริง และทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ ได้อย่างมีความสุข


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์ 1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายของครูได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้กลิ้งตัว 1 ครั้ง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวตามคำบรรยายของครู
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการณ์แสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก


กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกชื่อห้องเรียนของตนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
4. เด็กสังเกตและบอกชื่ออุปกรณ์ต่างๆ ในห้องเรียนได้
เนื้อหา
ห้องเรียนระดับอนุบาล 1 มี 5 ห้องเรียน ห้องที่เด็กๆ อยู่คือห้องอนุบาล 1/1 ห้องเรียนเป็นแหล่งการเรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “เสียงกระดิ่ง” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
“เพลงนี้มีเนื้อหาอย่างไร”
“เด็กๆต้องทำอะไรก่อนที่จะเข้าห้องเรียนได้”
2. ครูพาเด็กไปทัศนศึกษาตามห้องเรียนต่างๆ และสังเกตสิ่งต่างๆ โดยรอบ
“จากที่เราเดินดูห้องเรียนเด็กๆ สังเกตเห็นอะไรบ้าง”
“ห้องเรียนอนุบาล 1 มีกี่ห้อง”
“อุปกรณ์ที่อยู่ในห้องเรียนมีอะไรบ้าง”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับห้องเรียนอนุบาลและห้องเรียนอื่นๆ ในโรงเรียน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1.ห้องเรียนต่างๆ
2. อุปกรณ์ต่างๆ ในห้องเรียน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกชื่อห้องเรียนตนเองของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก
4. สังเกตการสังเกตและบอกชื่ออุปกรณ์ต่างๆ ในห้องเรียน


กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. หยดสีบนกระดาษทิชชู่
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การหยดสีลงบนกระดาษทิชชู่ การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้แป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรม ศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการณ์ช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก


กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์ 1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ เขย่งปลายเท้าตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลง
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. เทปเพลง
3. ริบบิ้นผ้า
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก


กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกชื่อย่อของโรงเรียนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
4. เด็กบอกสีและดอกไม้ประจำโรงเรียนได้
เนื้อหา
โรงเรียนมีชื่อว่าเรียกสั้นๆ ว่า “โรงเรียนอนุบาลแห่งธรรมศาสตร์ ฯ” อักษรย่อคือ อบ.มธ. สีประจำโรงเรียนคือสีส้ม – แดง และต้นไม้ประจำโรงเรียนคือ ต้นยูงทอง
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนน่าอยู่” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
“เพลงนี้มีเนื้อหาอย่างไร”
2. ครูพาเด็กไปทัศนศึกษาตามดูต้นยูงทองและสนทนาเกี่ยวกับต้นยูงทอง
“ต้นยูงทองมีลักษณะอย่างไร”
“ดอกของต้นยูงทองมีลักษณะอย่างไรและมีสีอะไร”
“สีประจำโรงเรียนของเราคือสีอะไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการไปทัศนศึกษาดูต้นยูงทอง
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ต้นยูงทอง
2. ป้ายชื่อโรงเรียนและชื่อย่อของโรงเรียน
3. กระดาษสีส้มและสีแดง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกชื่อย่อของโรงเรียนตนเองของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก
4. สังเกตการสังเกตและบอกสีและต้นไม้ประจำโรงเรียน

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. หยดสีบนกระดาษทิชชู่
2. วาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การหยดสีลงบนกระดาษทิชชู่ การวาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่ กระดาษทราย”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก


กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกันได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกัน
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกัน และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน

1. เกมต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและต่อโดมิโนภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์ 1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวผู้นำผู้ตามได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยกาเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งไปรอบๆ ห้อง เร็วช้า ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวเคลื่อนไหวผู้นำ ผู้ตาม
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการณ์เคลื่อนไหวผู้นำ ผู้ตามของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกชื่อครูใหญ่ ครูประจำชั้น และครูพี่เลี้ยงในห้องเรียนของตนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ครูใหญ่ชื่อครูรัตน์ ครูประจำชั้นคือครูโอ๋ ครูพี่เลี้ยงคือครูแอน และครูฝึกสอนคือครูแวว ทุกคนมีหน้าที่ในการดูแล และสอนเด็กร่วมกัน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนน่าอยู่” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
“เพลงนี้มีเนื้อหาอย่างไร”
2. ครูพาเด็กไปทัศนศึกษาตามดูป้ายบุคลากรที่ห้องธุรการและสนทนาเกี่ยวกับบุคลากรและหน้าที่การทำงานของแต่ละคน
“ในโรงเรียนเราเด็กๆ รู้จักครูคนไหนบ้าง”
“ครูใหญ่ของโรงเรียนมีชื่อว่าอะไร”
“ครูโอ๋มีหน้าที่อะไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการไปทัศนศึกษาป้ายบุคลากรในโรงเรียน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ป้ายชื่อบุคลากรในโรงเรียน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกชื่อครูใหญ่ ครูประจำชั้น และครูพี่เลี้ยงในห้องเรียนของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. หยดสีบนกระดาษทิชชู่
2. วาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การหยดสีลงบนกระดาษทิชชู่ การวาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่ กระดาษทราย”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเกมวิ่งส่งลูกโป่ง
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพกับคำได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพกับคำ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพกับคำ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพกับคำ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพกับคำ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพกับคำของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์ 1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามคำสั่งของครูได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามคำสั่งของครู
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งควบม้าไปรอบๆ ห้อง เร็วช้า ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามคำสั่งของครู
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการณ์เคลื่อนไหวร่างกายตามคำสั่งของครูของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรียนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ครูประจำชั้นทำหน้าที่ในการสอน ครูพี่เลี้ยงทำหน้าที่ในการปัด กวาด ทำความสะอาดห้องเรียน และดูแลเด็กๆ แม่ครัวช่วยเตรียมอาหารให้เด็ก แม่บ้านช่วยทำความสะอาดบริเวณรอบโรงเรียน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียน” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
“เพลงนี้มีเนื้อหาอย่างไร”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรียน พร้อมทั้งดูภาพประกอบ
“เด็กๆ รู้จักใครในภาพบ้าง”
“ครูโอ๋มีหน้าที่อย่างไร”
“แม่ครัวทำหน้าที่อะไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรียน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ป้ายชื่อบุคลากรในโรงเรียน
2. ภาพบุคลากรต่างๆ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรียนของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. หยดสีบนกระดาษทิชชู่
2. วาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย
3. ร้อยลูกปัด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การหยดสีลงบนกระดาษทิชชู่ การวาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย ฉีกปะและการร้อยลูกปัด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ พู่กัน กระดาษ ลูกปัด เชือกร้อย และพิมพ์รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่ กระดาษทราย”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการณ์ช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเกมตัวแข็ง
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่รายละเอียดของภาพได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่รายละเอียดของภาพ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตแลจับคู่รายละเอียดของภาพของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยโรงเรียนอนุบาลธรรมศาสตร์ 1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งควบม้าไปรอบๆ ห้อง เร็วช้า ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกมารยาทและการปฏิบัติตนต่อบุคลากรในโรงเรียนได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
4. เด็กทำความเคารพครูด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
เนื้อหา
การไหว้และทำความเคารพบุคลากรในโรงเรียน เป็นมารยาทที่เด็กทุกคนควรปฏิบัติ และสามารถทำได้กับบุคลากรทุกคน
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียน” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง
“เพลงนี้มีเนื้อหาอย่างไร”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับมารยาทและการปฏิบัติตนต่อบุคลากรในโรงเรียน พร้อมทั้งดูภาพประกอบ
“เด็กมาถึงโรงเรียนตอนเช้าและเจอคุณครู เด็กๆ ควรทำอย่างไร”
“นอกจาครูแล้วเด็กยังสามารถทำความเคารพใครได้อีกบ้างในโรงเรียน”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับมารยาทและการปฏิบัติตนต่อบุคลากรในโรงเรียน
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ภาพประกอบการไหว้และการทำความเคารพ
2. ภาพบุคลากรต่างๆ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกมารยาทและการปฏิบัติตนต่อบุคลากรในโรงเรียนของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. หยดสีบนกระดาษทิชชู่
2. วาดภาพสีเทียน
3. ร้อยลูกปัด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การหยดสีลงบนกระดาษทิชชู่ การวาดภาพสีเทียนบนกระดาษทราย ฉีกปะและการร้อยลูกปัด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ พู่กัน กระดาษ ลูกปัด เชือกร้อย และพิมพ์รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นน้ำ – เล่นทราย
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
อุปกรณ์เล่นน้ำ เล่นทราย
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการณ์เล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมภาพตัดต่อ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1

หน่วย ดิน หิน ทราย

สัปดาห์ที่ 15 วันที่ 8 - 15 กันยายน 2551



ภาพกิจกรรม




ภาพที่ 1 การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งประดิฐ์ที่ได้มาจาก ดิน หิน ทราย ทำให้เด็กได้รู้จักประโยชน์ของดิน หิน และทราย และได้รู้จักสิ่งต่างๆ รอบตัวว่าทำมาจากดิน หิน หรือทราย


ภาพที่ 2 เด็กกำลังเล่นทรายกับเพื่อน ซึ่งการเล่นทรายช่วยส่งเสริมทักษะการสังเกต และเป็นการสร้างพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก







ภาพที่ 3 เด็กกำลังทำกิจกรรมเล่นน้ำกับเพื่อน ซึ่งการเล่นน้ำและเล่นทรายช่วยส่งเสริมทักษะการสังเกต และเป็นการสร้างพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก







ภาพที่ 4 เด็กกำลังเล่นเครื่องเล่นสนามกับเพื่อนๆ ซึ่งการเล่นเครื่องเล่นสนามช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย และพัฒนาทักษะทางสังคมและอารมณ์กับเด็ก


แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดิน หิน ทราย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 1
จุดประสงค์

1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายของครูได้

4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งให้กลิ้งตัว 1 ครั้ง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวตามคำบรรยายของครู
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกลักษณะของดิน หิน ทรายได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ดินมีสีน้ำตาล สีเข้มๆ และนุ่ม ทรายเป็นเม็ดเล็กๆ ละเอียดๆ หินมีลักษณะแข็ง และมีทั้งขนาดใหญ่และเล็ก มีหลายสี
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ครูเล่านิทานเรื่อง “แม่อึ่งกับวัว” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของนิทาน
“ในนิทานนี้ใครทำอะไร และเป็นอย่างไร”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของดิน หิน ทราย พร้อมทั้งดูของจริงประกอบ
“จากที่เราเดินดูห้องเรียนเด็กๆ สังเกตเห็นอะไรบ้าง”
“สิ่งที่เด็กๆ เห็นนี้เรียกว่าอะไร”
“ดินมีลักษณะอย่างไร”
“หินมีลักษณะอย่างไร”
“ทรายมีลักษณะอย่างไร”
“ทั้งสามอย่างแตกต่างกันอย่างไร”
3. เด็กปิดตาและคลำดิน หิน ทราย และบอกชื่อของสิ่งที่คลำ
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับลักษณะของดิน หิน ทราย
5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1.นิทานเรื่อง แม่อึ่งกับวัว

2. ดิน หิน ทรายของจริง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการบอกลักษณะของดิน หิน ทรายของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. ร้อยโซ่
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การร้อยโซ่ การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน โซ่พลาสติก แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์
รูปต่างๆ กระดาษทราย

2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา

การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 1
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดิน หิน ทราย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ตีกลอง 1 ครั้งหมุนตัว 1 รอบ ตีกลอง 2 ครั้ง นั่งลงกับพื้น”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลง
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. เทปเพลง
3. พู่
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสังเกตและบอกประเภทของดิน หิน ทราย ได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ดิน มีทั้งดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย ทรายมีทั้งทรายหยาบ ทรายละเอียด หินมีหลายลักษณะหลายรูปแบบ แต่ละชนิดก็แตกต่างกันไป
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ครูเล่านิทานเรื่อง “ลูกหมู 3 ตัว” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของนิทาน
“ตัวละครมีใครบ้าง”
“ลูกหมูสร้างบ้านต่างกันอย่างไร”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับดิน หิน ทราย แต่ละประเภท พร้อมทั้งดูของจริงประกอบ
“หินแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไรบ้าง”
“ดินทั้ง 2 ชนิดนี้ แตกต่างกันอย่างไร”
“ทรายแต่ละประเภทมีลักษณะอย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับดิน หิน ทราย แต่ละประเภท
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียนการสอน

1. ดิน หิน ทราย ประเภทต่างๆ
2. นิทานเรื่อง ลุกหมู 3 ตัว
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการสังเกตและบอกประเภทของดิน หิน ทราย ของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. วาดภาพจากโคลน
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ร้อยลูกปัด
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การวาดภาพจากโคลน การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการร้อยลูกปัด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน ดินโคลน แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์
รูปต่างๆ ลูกปัดแบบต่างๆ”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นวิ่งเปรี้ยว
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
ผ้า
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 2
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดิน หิน ทราย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยาย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งไปรอบๆ ห้อง เร็วช้า ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยาย
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกประโยชน์ของดิน หิน ทราย ได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ดินสามารถนำไปสร้างบ้านและปลูกต้นไม้ได้ หินนำไปทำครกได้ และทำปูนสำหรับสร้างบ้าน ทรายสามารถนำมาทำกระจก หรือแก้วได้
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูเล่านิทานเรื่อง “ลูกหมู 3 ตัว” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของนิทาน
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์ของดิน หิน ทราย พร้อมทั้งดูภาพประกอบ
“ดินอยู่ที่ไหน นำไปทำอะไรได้บ้าง”
“หินสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง”
“ทรายมีประโยชน์อย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของดิน หิน ทราย
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ป้ายชื่อบุคลากรในโรงเรียน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการณ์บอกประโยชน์ของดิน หิน ทราย ของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. พิมพ์ภาพใบไม้ด้วยดินเหนียว
2. วาดภาพสีเทียน
3. ปั้นแป้งโด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การพิมพ์ภาพใบไม้ด้วยดินเหนียว การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการปั้นแป้งโด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ แป้งโด พู่กัน กระดาษ แผ่นรองปั้น และพิมพ์
รูปต่างๆ ดินเหนียว ใบไม้”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเกมเสือกินวัว
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 3
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมภาพตัดต่อ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและภาพตัดต่อของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดิน หิน ทราย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งเดินถอยหลัง ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกโทษของดิน หิน ทรายได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
ดินถล่ม หินนำไปขว้าง ปา ทำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ทรายถ้าเข้าตาก็เป็นอันตรายได้
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ครูให้เด็กท่องคำคล้องจอง “ดิน หิน ทราย” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของคำคล้องจอง2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับหน้าที่โทษของดิน หิน ทรายต่างๆ และดูภาพประกอบ
“ดินมีโทษอย่างไร”
“หินมีโทษอย่างไร”
“ทรายมีโทษอย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับโทษของดิน หิน ทราย
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ภาพประกอบเรื่องโทษของ ดิน หิน ทราย
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการณ์บอกโทษของดิน หิน ทราย ของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. พิมพ์ภาพ
2. วาดภาพสีเทียน
3. ร้อยลูกปัด
4. โรยดิน โรยทราย
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การพิมพ์ภาพ การวาดภาพสีเทียน ฉีกปะและการโรยดิน โรยทราย”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ พู่กัน กระดาษ ลูกปัด เชือกร้อย และพิมพ์
รูปต่างๆ กาว ดิน ทราย
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นเดินทรงตัวตามเส้นเชือก
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก

กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 4
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่รายละเอียดของภาพได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมจับคู่รายละเอียดของภาพ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่รายละเอียดของภาพ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตแลจับคู่รายละเอียดของภาพของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดิน หิน ทราย
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
5. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังจังหวะและปฏิบัติตามสัญญาณ การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญาณที่ใช้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
“ให้เด็กๆ วิ่งควบม้าไปรอบๆ ห้อง เร็วช้า ตามจังหวะกลอง”
“เด็กๆ ต้องเคลื่อนที่โดยไม่ให้ชนกับเพื่อน”
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณตามข้อตกลง
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลง
4. เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าสบาย
สื่อการเรียน
1. เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายของเด็ก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณของเด็ก
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการประกอบเพลงของเด็ก
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
5. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของเด็ก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กบอกสิ่งที่ประดิษฐ์ได้จากดิน หิน ทรายได้
3. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
เนื้อหา
เครื่องปั้นดินเผาประดิษฐ์มาจากดิน ครกหินประดิษฐ์มาจากหิน กระจกหรือแก้วประดิษฐ์มาจากทราย
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แผ่นดินที่รัก” และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของคำคล้องจอง
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ที่ได้มาจากดิน หิน ทราย พร้อมทั้งดูภาพประกอบ
“เด็กๆคิดว่าอะไรบ้างทำมาจากดิน”
“อะไรบ้างทำมาจากหิน"
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ที่ทำมาจาก ดิน หิน ทราย
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมต่อไป
สื่อการเรียน
1. ภาพดิน หิน ทราย

2. ภาพครก เครื่องปั้นดินเผา แก้ว กระจก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามของเด็ก
2. สังเกตการณ์บอกสิ่งประดิษฐ์ที่ทำมาจากดิน หิน ทรายของเด็ก
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูของเด็ก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจของตนเองได้
3. เด็กใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. พิมพ์ภาพจากโคลน
2. วาดภาพสีเทียน
3. ร้อยลูกปัด
4. ฉีกปะ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1. ครูแนะนำกิจกรรมศิลปะ แนะนำวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม
“กิจกรรมที่เตรียมมาในวันนี้คือ การพิมพ์ภาพจากโคลน การวาดภาพสีเทียนบนกระดาษ ฉีกปะและการร้อยลูกปัด”
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมมี สีเทียน สีน้ำ พู่กัน กระดาษ ลูกปัด เชือกร้อย และพิมพ์
รูปต่างๆ กระดาษทิชชู่”
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมศิลปะ
- การแบ่งปัน - การรอคอย - ความรับผิดชอบ ฯลฯ
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 – 2 อย่าง โดยให้นำสัญลักษณ์ไปใส่ในแผ่นวางแผนทำกิจกรรมศิลปะ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆในมุมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและสายตาได้ประสานสัมพันธ์กันของเด็ก
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดและจินตนาการของเด็ก
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมเสรี วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจได้
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ ได้แก่ มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมดนตรี มุมเกมการศึกษา มุมวิทยาศาสตร์ และมุมอ่าน
กิจกรรมเสรี
1. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กวางแผนเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ 3 มุม
3. เด็กทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ตามที่เลือกไว้
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
สื่อการเรียน
อุปกรณ์ในมุมประสบการณ์แต่ละมุม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ของเด็ก
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจของเด็ก
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจของเด็ก
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนของเด็ก
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก

กิจกรรมกลางแจ้ง วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นได้
3. เด็กเรียนรู้การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การทำกิจกรรมกลางแจ้งโดยให้เด็กได้เล่นน้ำ – เล่นทราย
กิจกรรมกลางแจ้ง
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่น
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่ม
3. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเสร็จแล้ว
สื่อการเรียน
อุปกรณ์เล่นน้ำ เล่นทราย
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่นของเด็ก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นของเด็ก
3. สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นของเด็ก
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองของเด็ก
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็ก


กิจกรรมเกมการศึกษา วันที่ 5
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน-หลังได้
5. เด็กตรวจสอบผลงานของตนเองได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
กิจกรรมเกมการศึกษา
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อ
2. แบ่งกลุ่มเด็กกลุ่มละ 5 คน
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม เกมภาพตัดต่อ และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องของเกมที่เล่นและแลกเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมเก่าที่เล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมของเด็ก
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นของเด็ก
3. สังเกต การสังเกตและต่อภาพให้สมบูรณ์ของเด็ก
4. สังเกต การรอคอยตามลำดับก่อน-หลังของเด็ก
5. สังเกตการตรวจสอบผลงานของตนเองของเด็ก
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่ของเด็ก